องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองเกษตร 
คำขวัญประจำตำบล "เมืองพริกงาม น้ำใต้ดิน ถิ่นมโหรี คั่วหมีอร่อย" วิสัยทัศน์การพัฒนาท้องถิ่น "เมืองแห่งการเกษตร เขตปลอดอบายมุขและยาเสพติด คนดีมีคุณภาพปราศจากโรคร้าย ชุมชนเข้มแข็งและน่าอยู่ เชิดชูศิลปและวัฒนธรรรมท้องถิ่น"
การจัดการองค์ความรู้






การจัดการองค์การรู้ องค์การบริหารส่วนตำบลเมืองเกษตร
การส่งเสริมการจัดการความรู้ (Knowledge Management)

การพัฒนาส่วนราชการให้เป็น“องค์การแห่งการเรียนรู้” โดยอาศัยกระบวนการ “การจัดการความรู้” ในยุคที่มีการแข่งขันและมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่วนราชการต้องสร้างให้ข้าราชการในส่วนราชการมีความรู้ เข้มแข็งและสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเองอย่างเป็นระบบเพื่อช่วยผลักดันส่วนราชการให้บรรลุผล ตามยุทธศาสตร์30โดยในขั้นตอนของการแปลงแผนการปฏิบัติราชการสู่การปฏิบัติจริงนั้นประกอบด้วยองค์ประกอบหลายประการที่จะช่วยผลักดันสู่การเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ดังนี้

1. การปรับโครงสร้างองค์การพื้นฐานเพื่อรองรับบุคลากรให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันได้สะดวก เช่น สถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ

2. การปรับขั้นตอนการทำงานให้รวดเร็ว และกระชับมากขึ้น เพื่อเอื้อต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ให้เกิดขึ้นได้อย่างรวดเร็ว และสะดวกยิ่งขึ้น

3. การพัฒนาคนให้มีขีดความสามารถ มีระบบการยกย่องชมเชย และการให้รางวัลที่เอื้อต่อการจัดการความรู้ และมีวัฒนธรรมการทำงานเชิงรุก และวัฒนธรรมของการแลกเปลี่ยน และแบ่งปันความรู้ระหว่างบุคลากรในองค์การ

4. ปรับกฎระเบียบ และกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การจัดการความรู้ในองค์การ31 ต้องดำเนินการ 3 ระดับ คือ (1) การจัดการความรู้ในองค์การ (2) การจัดการความรู้ในกลุ่มเพื่อนร่วมงาน (3) การจัดการความรู้ในตัวบุคคล ซึ่งเป็นการนำข้อมูลมาประมวลเข้าสู่ระบบสารสนเทศ และเป็นการจัดการความรู้สมัยใหม่ในยุคของสังคมแห่งการเรียนรู้

ดังที่ พระราชกฤษฎีการว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ๒๕๔๖ มาตรา ๑๑ กำหนดให้ส่วนราชการ มีหน้าที่พัฒนาความรู้ในองค์กร เพื่อให้มีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยต้องรับรู้ข้อมูลข่าวสารและสามารถประมวลความรู้ในด้านต่างๆ เพื่อนำมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการได้อย่างถูกต้อง รวดเร็ว เหมาะสมกับสถานการณ์ รวมทั้งต้องส่งเสริมและพัฒนาความรู้ความสามารถ สร้างวิสัยทัศน์ และปรับเปลี่ยนทัศนคติของข้าราชการในสังกัดให้เป็นบุคลากรที่มีประสิทธิภาพและมีการเรียนรู้ร่วมกัน

การจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM)

     1. แผนการจัดการองค์ความรู้ประเด็นที่ 1 การส่งเสริมจิตสำนึกและพฤติกรรมการปฺบัติงาน โดยยึดมั่นตามหลักธรรมมาภิบาลในการบริหารงานบุคคล

  1.  หลักเกณฑ์การพัฒนาบุคลากร  
  2.  มาตรฐานการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ 
  3.  แนวทางการประเมินประสิทธิภาพ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เรื่อง รายงานข้อมูลปริมาณกา 
  4.  ข้อสั่งการ แนวทาง และนโยบายของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อใช้กำกับดูแล และ 
  5.  มาตรฐานการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 


     2. แผนการจัดการองค์ความรู้ประเด็นที่ 2 การพัฒนาความรู้แก่พนักงานส่วนตำบล
  1.  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีผลปฏิบัติงานดีเด่น ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562  
  2.  พรบ.บำเหน็จบำนาญข้าราชส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2500 
  3.  พรบ.บริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 
  4.  พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ. 2539 
  5.  พรบ.ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 และที่แก้ไขเพิ่มเติม 


องค์ความรู้ (KM) ที่เกี่ยวข้อง
     1. องค์ความรู้ภายในองค์กร ความรู้ภายในองค์กร
  1.  คู่มือการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  
  2.  คู่มือปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน 
  3.  รายงานผลการเข้ารับการฝึกอบรม 
  4.  แนวทางในการประพฤติตนทางจริยธรรม 
  5.  Do's Don'ts 


     2. องค์ความรู้ภายนอกองค์กร ความรู้ภายนอกองค์กร
  1.  คำแถลงนโยบายนายก อบต.เมืองเกษตรต่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบล  
  2.  แผ่นพับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 
  3.  แผ่นพับภาษี 
  4.  แผ่นพับการขออนุยาตก่อสร้าง 
  5.  แผ่นพับภาษี63